พระทันตธาตุ ชุด100ปีชาตกาล - วัตถุมงคล หลวงปู่พิศดู-ครูบากฤษดา

ในห้อง 'พระเครื่อง วัตถุมงคล' ตั้งกระทู้โดย bat119, 20 กุมภาพันธ์ 2013.

  1. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    ed754663727th จรเข้บัว
     
  2. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,303
    ค่าพลัง:
    +14,371
    สวัสดียามสายครับป๋า ;););)
     
  3. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    สวัสดีหลัง-png.png3.png
     
  4. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,303
    ค่าพลัง:
    +14,371
  5. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,303
    ค่าพลัง:
    +14,371
    สวัสดียามบ่ายครับป๋า ;););)
     
  6. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,303
    ค่าพลัง:
    +14,371
    สวัสดียามสายครับป๋า ;););)
     
  7. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    สวัสดีหลัง-png.png2.png
     
  8. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,303
    ค่าพลัง:
    +14,371
  9. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,303
    ค่าพลัง:
    +14,371
    สวัสดียามสายครับป๋า ;););)
     
  10. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    วันพระ.jpg

    พวงมาลัย.jpg
     
  11. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,303
    ค่าพลัง:
    +14,371
    สวัสดียามสายครับป๋า ;););)
     
  12. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    350_n.jpg?_nc_cat=110&ccb=1-7&_nc_sid=5cd70e&_nc_ohc=M3Ndt9KwiWUAX-VWhtZ&_nc_ht=scontent.fbkk5-4.jpg

    058_n.jpg?_nc_cat=104&ccb=1-7&_nc_sid=5cd70e&_nc_ohc=5m4AePhid-kAX8fu5Kv&_nc_ht=scontent.fbkk5-5.jpg

    6_dst-jpg&_nc_cat=107&ccb=1-7&_nc_sid=5cd70e&_nc_ohc=7wtIBHFOuQYAX9wFcYO&_nc_ht=scontent.fbkk5-7.jpg

    ความคืบหน้าศาลา ๑๐๐ ปี ธมฺมจารี วัดเทพธารทอง ตอนนี้ขึ้นโครงเหล็กหลังคาแล้ว
    ซึ่งต้องใช้งบประมาณอีกร่วมล้านบาท #ร่วมบุญหลังคาศาลา ๑๐๐ ปี ธมฺมจารี
     
  13. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,303
    ค่าพลัง:
    +14,371
    สวัสดียามสายครับป๋า ;););)
     
  14. ศิษย์ปิยธโร

    ศิษย์ปิยธโร อายุ วรรณโณ สุขัง พลัง สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2006
    โพสต์:
    15,303
    ค่าพลัง:
    +14,371
    สวัสดียามบ่ายครับป๋า ;););)
     
  15. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    พระกริ่งอรหัง ปี๒๔๙๘ วัดราชบพิธฯ บูชา 4,150 บาท พร้อมส่งในประเทศ

    DSC_0088.JPG

    DSC_0089.JPG

    DSC_0090.JPG

    พระกริ่งอรหัง ๒๔๙๘ เป็นพระกริ่งในนาม "พระกริ่งหลวงพ่อโอภาสี" ทั้งนี้เนื่องจากได้รับ ทองชนวน (ทองเก่าพันปี) จากหลวงพ่อโอภาสี มาเป็นส่วนผสมในการเทหล่อ

    พระกริ่งอรหังเป็นองค์พระพุทธปฏิมากรที่ได้จำลองมาจากองค์ พระประธานในพระอุโบสถวัดราชบพิธฯ คือ "พระพุทธอังคีรส" และได้ประกอบพิธีพุทธาภิเษก ณ วัดราชบพิธฯโดยมีพระคณาจารย์ ๑๐๘ รูป นั่งปรกปลุกเสก

    ความเป็นมาของพระกริ่งอรหัง นี้ อาจารย์ ส.พลายน้อย ได้เขียนไว้ในตอนหนึ่ง ของประวัติ หลวงพ่อโอภาสี...ว่าจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นผู้ที่มีความเลื่อมใสในเรื่องกฤตยาคมอยู่มาก โดยเฉพาะท่านมีความเคารพศรัทธาเลื่อมใส หลวงพ่อโอภาสี และเคยได้รับครอบน้ำมนต์สำหรับเก็บใส่น้ำล้างหน้าจากหลวงพ่อโอภาสีไว้ด้วย โดยในสมัยที่จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ มียศพลเอก ดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารบก ท่านได้สร้างพระกริ่งอรหัง ไว้รุ่นหนึ่งเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๘ เนื่องจากในปีนั้นท่านมีอายุครบ ๔ รอบ ๔๘ ปี จึงเห็นว่าควรจะสร้างพระพุทธปฏิมากร ซึ่งเป็นองค์พระประธานไว้ในบวรพุทธศาสนาสักองค์หนึ่ง พอดีกับในขณะนั้น ทางวัดสุวรรณจินดาราม อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี กำลังวางรากฐานโบสถ์ และยังไม่มีองค์พระประธาน พลเอกสฤษดิ์จึงตกลงใจสร้างพระประธานถวาย โดยได้ปรึกษากับ พระธรรมปาโมกข์ หรือสมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน) และพระครูอาทรธรรมานุวัตร วัดราชบพิธฯ ซึ่งเป็นพระเถระผู้ใหญ่ที่พลเอกสฤษดิ์มีความเคารพนับถืออย่างยิ่ง

    พระพุทธรูปที่สร้างนี้เป็นแบบขัดสมาธิแบบสุโขทัย หน้าตักกว้าง ๒ ศอก ประกอบพิธีหล่อที่วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กทม. เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ย. ๒๔๙๘ และได้ถวายพระนามพระพุทธรูปองค์นี้ว่า "พระพุทธสยมภูพรรณพิจิตร"

    พร้อมกันนั้นท่านก็ได้จัดสร้าง "พระกริ่งอรหัง" โดยจำลองรูปแบบจากองค์พระประธานในพระอุโบสถวัดราชบพิธฯ คือ "พระพุทธอังคีรส"

    พระกริ่งอรหัง ที่สร้างมีจำนวน ๑๐,๐๐๙ องค์ และพระคะแนน ซึ่งเป็น พระกริ่งสองหน้าเหมือนกัน อีกจำนวน ๑๐๐ องค์

    ในการสร้างพระ เททองผสมโลหะหล่อพระในคราวนั้น คณะกรรมการตกลงกันว่าจะว่าจ้างทีมสร้างและหล่อพระของนายช่างฟุ้ง บ้านช่างหล่อ ไปปั้นหุ่นถอดแบบพระกริ่งและเทผสมโลหะหล่อพระในมณฑลพิธีภายในบริเวณวัดราชบพิธฯ

    สำหรับแผ่นโลหะ ทองคำ เงิน นาก ทองแดง ทองเหลือง ได้ลงอักขระเลขยันต์ โดยพระคณาจารย์จากทั่วเมืองไทย ประมาณกว่า ๑๐๘ แผ่น เท่าที่มีหลักฐานแน่นอน ได้แก่
    - สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ พระสังฆราช (สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวงศ์) วัดบวรนิเวศวิหาร
    - สมเด็จพระวันรัต สังฆนายก (สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ ปลด กิตติโสภโณ) วัดเบญจมบพิตร
    - หลวงพ่อโอภาสี อาศรมบางมด
    - พระมงคลเทพมุนี (หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ)
    - หลวงพ่อแฉ่ง วัดบางพัง
    - พระครูวินิตศีลคุณ (หลวงพ่อลา) วัดโพธิ์ศรี จ.สิงห์บุรี เป็นต้น

    สำหรับหลวงพ่อโอภาสี ท่านได้บริกรรมปลุกเสกทองชนวนให้กับพลเอกสฤษดิ์ไว้ผสมกับทองที่จะหล่อพระประธานและพระกริ่งอรหังครั้งนั้นไว้ด้วย โดยท่านบอกว่าเป็น "ทองเก่าพันปี"

    พิธีผสมโลหะหล่อพระและพิธีพุทธาภิเษกฯ ได้ประกอบกันที่วัดราชบพิธฯ เมื่อวันที่ ๑๔ พ.ย. ๒๔๙๘ ปีมะแม เวลา ๐๙.๒๕ น. เป็นเวลาปฐมฤกษ์เป็นการจัดพิธีทั้งหมดให้สำเร็จเสร็จสิ้นในคราวเดียวกัน โดยใช้เวลาตลอดทั้งวันทั้งคืนจนถึงรุ่งเช้า โดยมีพระครูอาทรธรรมานุวัตร เป็นผู้ดำเนินการฝ่ายพระสงฆ์, พลเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นประธานฝ่ายฆราวาส, สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ (ชื่น นพวงศ์) วัดบวรนิเวศวิหาร เป็นประธานจุดเทียนชัย, สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (อยู่ ญาโนทัย) วัดสระเกศ เป็นประธานเจริญชัยมงคลคาถา และพระคณาจารย์ร่วมบริกรรมคาถา นั่งปรกปลุกเสก ภายในบริเวณพิธีอาทิ

    หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี, พระอาจารย์ทิม วัดช้างให้, หลวงพ่อแดง วัดเขาบันไดอิฐ, หลวงพ่อจาด วัดบางกระเบา, หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก, หลวงพ่อพริ้ง วัดบางปะกอก, หลวงปู่ธูป วัดแค นางเลิ้ง, หลวงพ่อน้อย วัดธรรมศาลา, หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม, หลวงพ่อแช่ม วัดนวลนรดิศ, หลวงพ่อไพฑูรย์ วัดโพธิ์นิมิตร, พระครูสมุห์อำพล วัดประสาทบุญญาวาส, ท่านพ่อลี วัดอโศการาม, หลวงปู่เผือก วัดกิ่งแก้ว, หลวงพ่อเสงี่ยม วัดสุทัศนฯ, เจ้าคุณศรีฯ (ประหยัด) วัดสุทัศนฯ, หลวงพ่อเต๋ คงทอง วัดสามง่าม, หลวงพ่อสุด วัดกาหลง, หลวงพ่อมิ่ง วัดกก, เจ้าคุณผล วัดหนัง, หลวงพ่อขอม วัดไผ่โรงวัว ฯลฯ

    หลังจากนั้นพลเอกสฤษดิ์ ได้ถวายพระกริ่งอรหัง แด่สมเด็จพระสังฆราช (ชื่น นพวงศ์) วัดบวรฯ จำนวนหนึ่ง ถวายพระครูอาทรฯ จำนวนหนึ่ง เพื่อแจกแก่ผู้ร่วมทำบุญในครั้งนั้น และอีกจำนวนหนึ่งได้ถวายให้วัดสุวรรณจินดาราม อ.ลาดหลุมแก้ว ส่วนที่เหลือพลเอกสฤษดิ์ได้แจกจ่ายแก่บรรดาญาติสนิทมิตรสหาย และเหล่าบรรดาทหารทั้งหลายที่ใกล้ชิด เนื่องในโอกาสทำบุญวันคล้ายวันเกิดอายุ ครบ ๔๘ ปี ของท่าน

    พระกริ่งอรหังในส่วนของพระครูอาทรฯ ท่านได้แจกไปส่วนหนึ่งและเหลืออยู่อีกส่วนหนึ่งประมาณ ๑๕๐ องค์ ท่านได้มอบให้กับ พระครูวิบูลธรรมธัช วัดราชบพิธฯ เมื่อไม่นานมานี้ เพื่อให้ศรัทธาสาธุชนได้ร่วมกันทำบุญเช่าบูชา นำปัจจัยถวายวัดราชบพิธฯ ส่วนหนึ่ง และอีกส่วนเพื่อการศึกษาของเยาวชนในท้องที่ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก

    ขนาดขององค์ พระกริ่งอรหัง กว้าง ๒.๐ ซม. สูง ๓.๕ ซม. เป็นเนื้อโลหะผสมวรรณะเหลืองอมเขียว

    พระกริ่งอรหัง นี้ อาจารย์ ส.พลายน้อย ได้เขียนไว้ว่า...สร้างขึ้นด้วยพิธีแบบลงเลขยันต์และพิธีพุทธาภิเษก เพื่อให้ทรงคุณพระทั้งฝ่าย "พระเดช และ พระคุณ"

    "ในฝ่ายพระเดช" ทำหน้าที่กำจัดและป้องกันส่วนเสีย จึงแสดงผลดีในเชิงคงกระพันชาตรี อยู่คงคมศัตราวุธ แคล้วคลาด ปลอดภัย เพราะแสดงอำนาจปราบสิ่งตรงกันข้ามให้สลาย

    "ในฝ่ายพระคุณ" ทำหน้าที่รักษาและก่อส่วนดี จึงแสดงผลดีในทางให้เกิด เมตตา มหานิยม ศรีสวัสดี ลาภสักการะ ความสำเร็จ เพราะแสดงอำนาจ ฝ่ายสร้างความดี

    เพราะฉะนั้นก่อนที่จะนำพระกริ่งอรหังติดตัวไปไหน จึงควรทำใจให้เลื่อมใสและเชื่อมั่นจริงๆในคุณพระ แล้วอาราธนาด้วยพระคาถา

    "อิติสุคะโต อะระหังพุทโธ นะโมพุทธายะ ปะฐะวี คงคา พระภุมมะเทวา ขะมามิหัง"

    พระคาถานี้ หลวงพ่อโอภาสี ได้นำมาจารึกไว้หลังเหรียญกลมที่สร้างครั้งแรก ที่มีรูปสวัสติกะ (๒๔๙๕) นั่นคือข้อความส่วนหนึ่งที่ปรากฏอยู่ในประวัติของหลวงพ่อโอภาสี

    อนึ่งตามที่เคยมีผู้เข้าใจกันว่า พระกริ่งอรหัง รุ่นนี้หลวงพ่อโอภาสีได้ปลุกเสกให้ด้วยนั้น เป็นความเข้าใจผิด ทั้งนี้เนื่องจากวันประกอบพิธีที่วัดราชบพิธฯ คือ วันที่ ๑๔ พ.ย. ๒๔๙๘ ซึ่งทางคณะกรรมการได้นิมนต์หลวงพ่อโอภาสี ไปร่วมนั่งปรกปลุกเสกด้วยตามความประสงค์ของพลเอกสฤษดิ์ โดยตรง แต่พอดีหลวงพ่อโอภาสี ได้มรณภาพเสียก่อน คือ ท่านได้มรณภาพในตอนเช้าของ วันที่ ๓๑ ต.ค. ๒๔๙๘ ก่อนพิธี ๑๖ วันเท่านั้น (ในปัจจุบันสรีระของหลวงพ่อโอภาสียังคงอยู่ที่วัดหลวงพ่อโอภาสี บางมด) อย่างไรก็ตามผู้ที่เคารพเลื่อมใสในหลวงพ่อโอภาสี ต่างก็ให้ความศรัทธาเช่าหา พระกริ่งอรหังรุ่นนี้กันมาก เพราะถือว่ามีส่วนผสมของ "ทองเก่าพันปี" ที่หลวงพ่อโอภาสี ได้ปลุกเสกไว้แล้วนั่นเองอีกทั้งยังมีพระคณาจารย์เก่งๆ ในสมัยนั้นลงจารแผ่นทองชนวนและร่วมนั่งปรกปลุกเสกหลายรูปด้วยกัน จึงมีความเชื่อกันว่าเป็นพระกริ่งที่มีความขลังความศักดิ์สิทธิ์ไม่น้อยเลยทีเดียว และถ้าหากจะนับถึงความเก่า "พระกริ่งอรหัง" นับว่าเป็นพระกริ่งเก่าพอสมควรอีกรุ่นหนึ่งที่น่าสักการบูชาเป็นอย่างยิ่ง
     
  16. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    พระนาคปรกหลวงพ่อต่วน กรุวัดตาปะขาวหาย ปี2464 หลวงปู่ศุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า ปลุกเสก มาพร้อมบัตรการันตีพระ บูชา 3,750บาท พร้อมส่งในประเทศ

    DSC_0091.JPG

    DSC_0092.JPG

    DSC_0093.JPG
     
  17. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    พระผงลิบห่วยปี2480 ท่านเจ้าคุณโพธิ์แจ้ง บูชายกคู่ 1,500 บาท พร้อมส่งในประเทศ
    DSC_0094.JPG

    DSC_0095.JPG

    DSC_0096.JPG

    DSC_0097.JPG

    สำนักสงฆ์หลับฟ้า
    สำนักสงฆ์หลับฟ้าจะทำการเปิดกรุพระเครื่อง(พุทธพิมพ์)
    สำนักสงฆ์หลับฟ้า ซึ่งตั้งอยู่ถนนเจริญเมือง สะพานอ่อน เขตปทุมวัน ได้ทำการเปิดกรุตั้งแต่วันที่30กันยายน2520 เป็นวันศุภวาระดิถีที่จะทำการเปิดกรุพระเครื่องที่ได้ใส่กรุไว้ในสำนัก จำเดิมเมื่อ40ปีก่อน พระอาจารย์ทองกัง ซึ่งเป็นภิษุที่ได้บำเพ็ญพรจริยวัตรอย่างเคร่งครัทเมือได้ทราบข่าว พระคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตรฯ เจ้าคณะจีนใหญ่สงฆ์จีนนิกาย(องค์ปัจจุบัน)ได้ จาริกไปศึกษาพระธรรมในนิกายมนตรยานถึงทิเบตแบะซีคัน ได้ลำดับประมุขนิกายต่อจากพระ นับนาฮูทูเคียกทู้ เถระจากทิเบตรได้ถ่ายทอดวิชามนตรยานให้ แล้วได้จาริกมาเผยแพร่ยังประเทศไทย จำพรรษาที่สำนักสงฆ์หมี่กัง พระอาจารย์ทองกังจึงได้จาริกเข้ามา ถวายตัวเป็นศิษย์ ศึกษามนตรยานกับพระคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตรฯ ตั้งแต่นั้นมาก็ได้ศึกษาอยู่เป็นประจำจนแตกฉาน ในระหว่างนั้นพระคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตรฯและพระอาจารย์ทองกังต้องการจะแผ่ปณิธานแห่งการุณธรรม จึงได้ดำริจะสร้างพระเครื่องพิมพ์พระไวโรจนและพิมพ์พระศากยมุนี พระคุณเจ้าทั้งสองจึงได้เก็บเกษรดอกไม้เป็นจำนวนร้อยกว่าชนิดแล้วบดเป็นผง พระคณาจารย์จีนธรรมสมาธิวัตรฯได้แสวงบุญจาริกไปยังธิเบตและซีคันอีกเป็นวาระที่2ได้ถีอโอกาสนำผงเกษรดังกล่าวสร้างพระไปให้บรรดาเกจิอาจารย์ของธิเบต มงโกเลีย ซีคันที่มีบารมีแก่กล้าปลุกเสกเมตามหานิยม แล้วจึงได้นำกลับมายัง .ประเทศไทย บูชาไว้ที่สำนักสงฆ์ฮกสิ่วตั๊ว ตลาดลูกแก จังหวัดกาญจนบุรี แล้วดำเนินการสร้างพระพิมพ์ไวโรจนขึ้น ในระหว่างนั้น ประจวบกับท่านเจ้าคุณเจ้าคณะใหญ่ได้สร้างสำนักสงฆ์หลับฟ้าเสร็จเรียบร้อยลงพอดีท่านเจ้าคุณเจ้าคณะใหญ่จึงได้นำพระพิมพ์พระไวโรจนพระพิมพ์พระศากยมุนีและอื่นๆ นำมาปลุกเสกที่กรุงเทพอีกครั้ง และนำมาประดิษฐานไว้ใต้แท่นพระพุทธรูปองค์ต่างๆของสำนักสงฆ์หลับฟ้า เพื่อให้บรรดาพุทธศาสนิกชนได้สักการะบูชา บัดนี้เวลาก็ได้ล่วงเลยมา42ปีแล้วสำนักสงฆ์หลับฟ้ามีความจำเป็นต้องย้ายปูชนียสถานออกไปจากที่เดิมจึงได้ทำการเปิดกรุนำเอาพระพิมพ์ต่างๆออกมาให้บรรดาพุทธศาสนิกชนได้มีไว้ติดตัวหรือนำไปบูชา และให้เกิดโชคลาภและเมตามหานิยมบรรดาพุทธศาสนิกชนผู้มีจิตเลื่อมใสทั้งหลาย หากมีความประสงค์ต้อวการจะได้พระพิมพ์ดังกล่าวไว้ติดตัวหรือบูชาสักการะที่บ้าน เพื่อให้เกิดศิริมงคลแล้วไซร้ ขอเชิญติดต่อได้ที่ ประชาสัมพันธ์วัดโพธิ์แมนคุณาราม ตรอกจันทร์ ยานนาวา กรุงเทพมหานคร
    พระพิมพ์ศากยมุนีและพระพิมพ์ต่างๆเป็นพระเครื่องนิกายมนตรยาน มีอิทธิฤทธิ์เกิดโชคลาภและเมตามหานิยมอย่างอัศจรรย์ที่สุด ประกอบกับเก็ยใส่กรุบูชามานาน ผู้ที่ได้ติดตัวหรือตั้งสักการะบูชาแล้วย่อมเกิดเมตตามหานิยม ประสบโชคลาภเป็นศิริมงคลแก่ตัวเองและขอบครัวไปชั่วกาลนาน

    พระลิบห่วยนั้นมี สร้าง2 วาระด้วยกัน
    วาระที่ 1 สร้างที่ทิเบต
    วาระที่ 2 สร้างในประเทศไทย
    พระชุดนี้จึงมีความแตกต่างกัน ด้วยการถึง 2 แบบ แบบยันต์ตื้นและยันต์ลึกและยังมีแบบพระที่ไม่ได้ลงกรุสมาชิกที่จะเช่าหาพระรุ่นนี้ควรศึกษาให้ดีก่อนพระบางอย่างบางรุ่นที่วัดมีแต่มีบุคคลบางกลุ่มบิดเบือนข้อมูลจึงทำให้นักสะสมและลูกศิษย์ของท่านเจ้าคุณโพธิ์แจ้งนั้นสับสนและหลงทางไปกันมาก พระแท้ไม่ได้วัดกันที่หลังยันต์ตื้นหรือหลังยันต์ลึกพระสร้างด้วยมือจะให้เหมือนกันทุกองค์เป็นไปไม่ได้ พระกดมือและมีผู้กดพิมพ์หลายคนนั้นพระจึงออกมาไม่เหมือนกันของความคมชัดแต่ละองค์และด้วยเทคโนโลยีในสมัยนั้นต้องใช้เวลากดพระให้ครบ 84,000 องค์ต้องใช้เวลานานแรมปีจึงจะแล้วเสร็จครับ
    ข้อมูลคุณnattari nattari
     
  18. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    พระโพธิสัตว์ดารา วัดเซียนฮุดยี่ บูชายกคู่ 1,100 บาท พร้อมส่งในประเทศ

    DSC_0098.JPG

    DSC_0099.JPG

    DSC_0100.JPG

    DSC_0101.JPG

    พระโพธิสัตว์ดารา วัดเซียนฮุดยี่ชลบุรี สร้างประมาณปีพ.ศ 2510กว่า ท่านพระอาจารย์เย็นเทียนเป็นผู้สร้าง
    ท่านเจ้าคุณโพธิ์แจ้ง นำไปปลุกเสกเพิ่มเติมและนำไปแจกให้แก่ลูกศิษย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศทั้งมาเลเซียและสิงคโปร์ พระมีมวลสารเก่าของท่านเจ้าคุณโพธิ์แจ้งอยู่มาก เป็นพระทึ่น่าสะสมครับ
    ข้อมูลคุณnattari nattari
     
  19. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    พระนาคปรกใบมะขาม หลวงปู่เม้า วัดสี่เหลี่ยม บูชา 2,650 บาท พร้อมส่งในประเทศ
    DSC_0102.JPG

    DSC_0103.JPG

    DSC_0104.JPG

    พระชุดเล็กที่ได้รับความนิยมอย่างยิ่งในยุคนี้ คือ พระปรกใบมะขาม สมัยก่อนใช้หล่อด้วยสัมฤทธิ์บ้าง เมฆพัดบ้าง แต่สมัยนี้ส่วนใหญ่ใช้ปั๊มทำให้มีความสวยงามกว่าสมัยก่อน พระปรกใบมะขามที่ดีทั้งคุณภาพและได้รับความนิยมมากเห็นจะได้แก่ ปรกใบมะขามเนื้อเมฆพัดหลวงปู่ใจ วัดเสด็จ และปรกเจ้าคุณสนิท วัดท้ายตลาด มีพระปรกรุ่นใหม่แต่สูงสุดด้วยคุณภาพเพราะแผ่เมตตาปลุกเสก โดยพระภิกษุสงฆ์ผู้ทรงศิลบริสุทธิ์นั่นก็คือ พระปรกใบมะขามหลวงปู่เม้า พลวิริโย วัดสี่เหลี่ยม บุรีรัมย์

    หลวงปู่เม้าท่านเกิดในตระกุล สุราษฎร์ มีนามเดิมว่า “เม้า” เกิดเมื่อขึ้น ๑๒ ค่ำ เดือน ๗ พ.ศ. ๑๔๑๗ เมื่ออายุได้ ๑๓ ขวบ ได้บรรพชาเป็นสามเณรจนถึงอายุ ๒๐ ขวบ จึงได้อุปสมบทเป็นพระ ณ วัดใหม่เรไรทอง โดยมีพระอาจารย์เพียร เป็นพระอุปฌาย์ ซึ่งพระอาจารย์องค์นี้เป็นพระนักวิปัสนาที่มีชื่อเสียงมากในสมัยโน้น เมื่อเรียนได้ ๕ ปี ท่านก็เรียนรู้รู้จากพระอาจารย์จนหมดสิ้น จากนั้นท่านก็ได้ธุดงค์ไปศึกษากับพระอาจารย์เสาร์ กันตสีตเถระ ซึ่งในขณะนั้นพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระได้จำวัดที่วัดเลีบล จังหวัดอุบลราชธานี จากนั้นท่านก็ได้เดินธุดงค์เดี่ยวไปตามที่ต่างๆ เพื่อบำเพ็ญเพียร ในระหว่างเดินธุดงค์นั้นท่านได้บูรณะสิ่งก่อสร้างต่างๆ ไว้มากมาย เช่น พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ กุฏิ โรงเรียนและสระน้ำ ฯลฯ ซึ่งนับว่าบุญบารมีของหลวงปู่มีมากจึงสามารถบูรณะสิ่งต่างๆ ใด้มากมาย

    พระปรกใบมะขามชุดนี้สร้างขึ้นเพื่อหาปัจจัยในการบูรณะ วัดโสกน้ำขาว จังหวัดยโสธร ซึ่งเป็นถิ่นธรุกันดารมาก พระปรกชุดนี้ได้นำไปให้พระเกจิอาจารย์ต่างๆ ร่วมปลุกเสกเดี่ยวอีกมาก เพื่อให้ท่านที่ได้มาร่วมทำบุญกุศลคั้งนี้แน่ใจว่าได้ของดีไว้ใช้จริงๆ ซึ่งเกจิอาจารย์ต่างๆ ที่กรุณาปลุกเสกให้มีดังนี้
    ๑. หลวงพ่อคูณ ปริสุทโธ วัดสระแก้ว จังหวัดนครราชสีมา ปลุกเสกเมื่อวันที่ ๑๓ พฤศจิกายนต์ ๒๕๑๗ หลังจากที่ท่านได้เมตตาปลุกเสกพระชุดนี้แล้ว ท่านได้กล่าวว่า “เอาไปเถอะผู้ใดได้บูชาไว้ใช้จะมีแต่ความสิริมงคล”
    ๒. หลวงพ่อเป็น วัดเจริญนิมิตร จังหวัดบุรีรัมย์ ปลุกเสกเมื่อวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๑๗ ซึ่งหลวงพ่อองค์นี้ทำของให้ใครอยากมาก เพราะว่าสิ่งของที่ท่านทำแต่ละชิ้นสามารถอยู่คงต่ออาวุธ ทำให้ลูกศิษย์ลูกหาของท่านนำไปใช้ในทางที่ผิด ท่านเลยไม่ยอมปลุกเสกของให้ใครง่ายๆ
    ๓. หลวงพ่อทิพย์ ธัมมนิโยโก วัดโพธิ์ทอง จังหวัดบุรีรัมย์ ปลุกเสกเมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๑๗ ท่านได้เมตตาจัดพิธีต่างๆ โดยองค์ท่านเองตลอด
    ๔. หลวงปู่ทิม อิสริโก วัดละหารไร่ จังหวัดระยอง ปลุกเสกเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๑๗ ซึ่งหลวงปู่มีบุญบารมีขนาดไหน เก่งทางใด นักสะสมพระเครื่องคงรู้จักกันดี
    ๕. พระครูวิบูลย์ สุมโณ วัดลำต้อยติ่ง ปลุกเสกเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๑๗ ซึ่งหลวงพ่อองค์นี้เก่งทางงู เขี้ยวสัตว์ต่างๆได้ขออนุญาตจากท่านให้ช่วยเมตตากับพวกเขี้ยวสัตว์ต่างๆ โดยเฉพาะ
    ๖. พิธีมหาพุทธาภิเษกเพื่องในงานทำบุญต่อายุ หลวงปู่คำ ยัสกุลปุตโต วัดศรีจำปาชนบท อำเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร ซึ่งหลวงปู่องค์นี้เป็นศิษย์สายกรรมฐานของท่านพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ ที่มีพรรษาสูงสุด ในปัจจุบันอายุ ๙๔ ปี พรรษา ๔๕ ตามประวัติหลวงปู่ท่านเคยเป็นคหบดีแห่ง อำเภอพังโคน และเป็นโยมอุปัฏฐากที่ใกล้ชิดท่านอาจารย์มั่นมาก ในคราวที่พระอาจารย์มั่น ได้ชวนท่านมาบวชในบวรพุทธศาสนา หลวงปู่ท่านจึงได้ละจากเพศฆราวาสมาสู่ร่วมพระกาสาวพัสตร์ และท่านเป็นผู้ที่เคร่งครัดในข้อวัตรปฏิบัติตลอดมา ในงานพิธีนี้มีกำหนดขึ้นเมื่อวันที่ ๒๗-๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๑๗ ตรงกับขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑ ปีขาล มีคณาจารย์ในสายอาจารย์มั่นทั่วภาคอีสานมาร่วมในพิธีนี้ถึง ๔๖ ท่าน อาทิ พระเทพบัณฑิต วัดศรีเมือง จังหวัดหนองคาย พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร วัดอุดมสมพร จังหวัดสกลนคร อาจารย์อ่อน ญาณศิริ อาจารย์จวน กุลเชษโก อาจารย์จันทร์ เขมปัตโต อาจารย์หลุย จันทสาโร วัดถ้ำเจ้าผู้ข้า จังหวัดเลย อาจารย์วัน อุตตโม วัดถ้ำอภัยดำรงธรรม จังหวัดสกลนคร อาจารย์บุญเพ็ง เขมาภิรโต วัดถ้ำกองเพล จังหวัดอุดรธานี ฯลฯ
    ๗. หลวงปู่เม้า พลวิริโย วัดสี่เหลี่ยม จังหวัดบุรีรัมย์ ปลุกเสกเมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๑๗ (ปลุกเสกร่วมกันพระชุดมหานิยม ณ วัดดอนไม้ไฟ )

    จากพระคณาจารย์ต่างๆ ที่เสกและอธิษฐานจิตพระปรกชุดนี้แล้ว จึงไม่เป็นที่สงสัยเลยว่าพระชุดนี้ซึ่งงามอยู่แล้ว จะเลิศทั้งคุณภาพอย่างไม่ต้องสงสัย นักสะสมพระเครื่องจึงไม่ควรพลาด

    โดยปรกใบมะขาม นั้นแบ่งแยกเนื้อออกเป็น เนื้อทองคำ ๓๔ องค์ เนื้อเงิน ๓๐๐ องค์ เนื้อนวะ ๕๐๐ องค์ เนื้อทองแดง ๑๒,๐๐๐ องค์ และเนื้อกะหลั่ยทอง-เงิน (มีเฉพาะชุดกรรมการ)

    ***ที่มา หนังสืออภินิหารและพระเครื่อง ฉบับที่ ๒๙ ปีที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๑๗***
     
  20. bat119

    bat119 เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กันยายน 2009
    โพสต์:
    14,617
    ค่าพลัง:
    +30,888
    เหรียญมหากฐิน ปี2565 รุ่นแรกวัดพระธาตุหมื่นหิน กะหลั่ยทอง+ทองแดง บูชา 2,150 บาท พร้อมส่งในประเทศ

    DSC_0105.JPG

    DSC_0106.JPG

    DSC_0107.JPG

    DSC_0108.JPG

    DSC_0109.JPG
     

แชร์หน้านี้

Loading...