ขอบทสวดมนต์ก่อนนอนหน่อยครับ

ในห้อง 'บทสวดมนต์ - คาถา' ตั้งกระทู้โดย Cloud, 2 สิงหาคม 2005.

  1. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    ขอเสริมเพิ่มเติม ยอดกพระกัณฑ์ไตรปิฎกครับ

    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    เปิดกรุได้ที่เมืองสวรรคโลก มีคำกล่าวในหนังสือนำว่า ผู้ใดมีไว้ประจำบ้านเรือน มีอานิสงค์ยิ่งกว่าได้สร้างพระเจดีย์ทองคำสูงเทียมเทวโลก และป้องกันภยันตรายต่าง ๆ ทำมาหากินเจริญฯ<o:p></o:p>
    ผู้ใดสร้างไว้สวดมนต์ สักการะบูชาเป็นกุศลอันยิ่งใหญ่ และจะมีความสุข ศิริสวัสดิ์เจริญต่อไปทั้งปัจจุบัน กาลอนาคต และภายหน้าภาคหน้า ด้วยอำนาจของความเคารพในพระคาถานี้ สร้างครบ ๗ วัน ครบอายุ หมดเคราะห์โศกทุกประการฯ<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ประวัติต้นฉบับเดิมกล่าวไว้ว่า<o:p></o:p>

    หนังสือยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏกนี้มีคำกล่าวไว้ในหนังสือนำว่าศักดิ์สิทธิ์ ถ้าผู้ใดได้สวนมนต์ภาวนาทุกค่ำเช้าแล้ว ผู้นั้นจะไม่ไปตกอบายภูมิ แม้ได้บูชาไว้กับ บ้านเรือนก็อาจป้องกันอันตรายต่าง ๆ จะภาวนาพระคาถาอื่น ๆ สัก ๑๐๐ ปี อานิสงค์ ก็ไม่สูงเท่าภาวนาพระคาถานี้ครั้งหนึ่ง ถึงแม้ว่า อินทร์ พรหม ยม ยักษ์ ที่มีอิทธิฤทธิ์ จะเนรมิตแผ่นอิฐเป็นทองคำ ก่อเป็นพระเจดีย์ ตั้งแต่มนุษยโลกสูงขึ้นไปจนถึงพรหมโลก อานิสงค์ก็ยังไม่เท่าภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฏกนี้ และมีคำอธิบายคุณความดีไว้ใน ต้นฉบับเดิมนั้นอีกหลายประการฯ<o:p></o:p>
    ต้นฉบับเดิมเปิดกรุได้ที่เมืองสวรรคโลก เป็นอักษรขอมจารึกไว้ในใบลาน จึงแปลเป็นภาษาไทย หลวงธรรมาธิกรณ์ (พระภิกษุแสง) ได้มาแต่พระแท่นศิลาอาสน์ มณฑลพิษณุโลก<o:p></o:p>
    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏกนี้ ถ้าผู้ใดบริจาคทรัพย์สร้างถวายพระภิกษุสามเณร หรือญาติสนิทมิตรสหาย ครบ ๗ วัน หรือครบอายุปัจจุบันของตน จะบังเกิดโชคลาภ ทำมาค้าขายเจริญรุ่งเรือง จะพ้นเคราะห์ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย และภัยพิบัติทั้งปวง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    พระคาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก<o:p></o:p>

    . อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วะตะ[1] โส ภะคะวา<o:p></o:p>
    แม้เพราเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วะตะ โส ภะคะวา<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะ สัมปันโน วะตะ โส ภะคะวา<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วะตะ โส ภะคะวา<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วะตะ โส ภะคะวา<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้รู้แจ้งโลก<o:p></o:p>
    . อะระหันตัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<o:p></o:p>
    อะระหันตัง สิระสา นะมามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นพระอรหันต์ ด้วยเศียรเกล้า<o:p></o:p>
    สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้ทรงตรัสรู้เองโดยชอบ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<o:p></o:p>

    สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ ด้วยเศียรเกล้า<o:p></o:p>
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สะระณัง คัจฉามิ <o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<o:p></o:p>
    วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิริสา นะมามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ ด้วยเศียรเกล้า<o:p></o:p>
    สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<o:p></o:p>
    สุคะตัง สิระสา นะมามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้เสด็จไปดีแล้ว ด้วยเศียรเกล้า<o:p></o:p>
    โลกะวิทุง[2] สะระณัง คัจฉามิ <o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<o:p></o:p>
    โลกะวิทุง สิระสา นะมามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้รู้แจ้งโลก ด้วยเศียรเกล้า<o:p></o:p>
    . อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วะตะ โส ภะคะวา<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ยอดเยี่ยมไม่มีใครยิ่งกว่า<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วะตะ โส ภะคะวา<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วะตะ โส ภะคะวา<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วะตะ โส ภะคะวา<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน<o:p></o:p>
    . อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>
    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ไม่มีใครยิ่งกว่า ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<o:p></o:p>
    อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้ยอดเยี่ยม ด้วยเศียรเกล้า<o:p></o:p>
    ปุริสะทัมมะสาระถิง[3] สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<o:p></o:p>
    ปุริสะทัมมะสาระถิง สิระสา นะมามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ ด้วยเศียรเกล้า<o:p></o:p>
    สัตถารัง[4] เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ <o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<o:p></o:p>
    สัตถารัง เทวะมะนุสสานัง สิริสา นะมามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ ด้วยเศียรเกล้า<o:p></o:p>
    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอถึงพระองค์ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ว่าเป็นที่พึ่งกำจัดภัยได้จริง<o:p></o:p>
    พุทธัง สิระสา นะมามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้า ขอนอบน้อมพระองค์ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยเศียรเกล้า<o:p></o:p>
    . อิติปิ โส ภะคะวา<o:p></o:p>

    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น กอปรด้วยดังว่ามานี้แล<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน <o:p></o:p>

    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้จะมีรูปขันธ์เป็นอนิจจลักษณะ คือ ไม่เที่ยงแท้ แต่ทรงเพียบพร้อมด้วยพระบารมี<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน <o:p></o:p>
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้จะมีเวทนาขันธ์เป็นอนิจจลักษณะ คือ ไม่เที่ยงแท้ แต่ทรงเพียบพร้อมด้วยพระบารมี<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน <o:p></o:p>
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้จะมีสัญญาขันธ์เป็นอนิจจลักษณะ คือ ไม่เที่ยงแท้ แต่ทรงเพียบพร้อมด้วยพระบารมี<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน <o:p></o:p>
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้จะมีสังขารขันธ์เป็นอนิจจลักษณะ คือ ไม่เที่ยงแท้ แต่ทรงเพียบพร้อมด้วยพระบารมี<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน <o:p></o:p>
    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้จะมีวิญญาณขันธ์เป็นอนิจจลักษณะ คือ ไม่เที่ยงแท้ แต่ทรงเพียบพร้อมด้วยพระบารมี<o:p></o:p>

    . อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวี ธาตุสะมาธิญาณะ[5] สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในปฐวีธาตุ<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา อาโป ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในอาโปธาตุ<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา เตโช ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในเตโชธาตุ<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา วาโย ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในวาโยธาตุ<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในอากาศธาตุ<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในวิญญาณธาตุ<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา จักกะวาฬะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในจักรวาลธาตุ<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา จาตุมมะหาราชิกา ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นจาตุมมหาราช<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติงสา ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นดาวดึงส์<o:p></o:p>

    . อิติปิ โส ภะคะวา ยามา ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นยามา<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา ดุสิตา ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นดุสิต<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระติ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นนิมมานรดี<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นที่สถิตของเทวดาชั้นปรินิมมิตวสวัตดี<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ การหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในเทวโลกชั้นกามาวจร<o:p></o:p>

    . อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในพรหมโลกชั้นรูปาวจร<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา อะรูปาวะจะระ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในพรหมโลกชั้นอรูปาวจร<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา โลกุตตะระ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นโลกุตตระ คือ อยู่เหนือโลกทั้งปวง<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในปฐมฌาน<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในทุติยฌาน<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในตติยฌาน<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในจตุตถฌาน<o:p></o:p>

    อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุที่เป็นไปในปัญจมฌาน<o:p></o:p>

    . อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากาสานัญจายตนะ<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ วิญญาณัญจายตนะ<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ อากิญจัญญายตนะ<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ ธาตุสะมาธิญาณะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธาตุอันเป็นไปในอรูปาวจรภูมิ คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ<o:p></o:p>
    . อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติมัคคะ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติมรรค<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิมัคคะ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิมรรค<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิมัคคะ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิมรรค<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะมัคคะ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอรหัตมรรค<o:p></o:p>
    . อิติปิ โส ภะคะวา โสตา ปัตติผะละ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระโสดาปัตติผล<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคามิผะละ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระสกิทาคามิผล<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคามิผะละ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอนาคามิผล<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละ ธาตุสะมาธิญานะ สัมปันโน<o:p></o:p>

    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงถึงพร้อมด้วยสมาธิและปัญญา คือ ความหยั่งรู้ในธรรมที่เป็นธาตุ คือ พระอรหัตผล<o:p></o:p>
    . กุสะลา ธัมมา<o:p></o:p>

    ธรรมะฝ่ายกุศล<o:p></o:p>
    อิติปิ โส ภะคะวา<o:p></o:p>

    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น มีพระคุณดังพรรณมานานี้แล<o:p></o:p>
    อะ อา<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<o:p></o:p>
    ชัมพูทีปัญจะอิสสะโร กุสะลา ธัมมา<o:p></o:p>

    พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้เป็นอิสระแห่งชมภูทวีป ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือชมพูทวีป<o:p></o:p>
    นะโม พุทธายะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<o:p></o:p>
    นะโม ธัมมายะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า<o:p></o:p>
    นะโม สังฆายะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า<o:p></o:p>
    ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าห้าพระองค์<o:p></o:p>
    อา ปา มะ จุ ปะ<o:p></o:p>

    หัวใจพระวินัยปิฏก<o:p></o:p>
    ที มะ สัง อัง ขุ<o:p></o:p>

    หัวใจพระสุตตันตปิฏก<o:p></o:p>
    สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ<o:p></o:p>

    หัวใจพระอภิธรรมปิฏก<o:p></o:p>
    อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ โส<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ<o:p></o:p>

    หัวใจโลกุตตรธรรม คือ มรรคสี่ ผลสี่ นิพพานหนึ่ง<o:p></o:p>
    เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว<o:p></o:p>

    หัวใจพระเจ้าสิบชาติแสดงการบำเพ็ญบารมีสิบ<o:p></o:p>
    อะ สัม วิ สุ โล ปุ สะ พุ ภะ<o:p></o:p>

    หัวใจพระพุทธคุณเก้า (นวหรคุณ)<o:p></o:p>
    อิ สวา สุ สุ สวา อิ<o:p></o:p>

    หัวใจคุณพระรัตนตรัย<o:p></o:p>
    กุสะลา ธัมมา จิตติ วิอัตถิ<o:p></o:p>

    ธรรมะฝ่ายกุศล มีนัยวิจิตรพิสดาร<o:p></o:p>
    . อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง<o:p></o:p>
    แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ไกลจากกิเลส<o:p></o:p>
    อะ อา<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<o:p></o:p>
    สา โพธิ ปัญจะ อิสะโร ธัมมา<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    . กุสะลา ธัมมา<o:p></o:p>
    ธรรมฝ่ายกุศล<o:p></o:p>
    นันทะวิวังโก<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    อิติ สัมมาสัมพุทโธ<o:p></o:p>

    พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบแล้วแล<o:p></o:p>
    สุ คะ ลา โน<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<o:p></o:p>
    จาตุมมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<o:p></o:p>

    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือเทวโลกชั้นจาตุมมหาราช<o:p></o:p>
    อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน<o:p></o:p>

    พระองค์ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้และความประพฤติ<o:p></o:p>
    อุ อุ<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    ยาวะ ชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<o:p></o:p>
    ตาวะติงสา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<o:p></o:p>

    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือสวรรค์ชั้นดาวดึงส์<o:p></o:p>
    นันทะ ปัญจะ<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    สุคะโต โลกะวิทู<o:p></o:p>

    พระพุทธเจ้า ผู้เสด็จไปดีแล้ว ผู้รู้แจ้งโลก<o:p></o:p>
    มะหาเอโอ<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<o:p></o:p>
    ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<o:p></o:p>

    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือสวรรค์ชั้นยามา<o:p></o:p>
    พรัหมะสัททะ ปัญจะ สัตตะ สัตตาปาระมี อะนุตตะโร<o:p></o:p>

    พระโพธิสัตว์ห้า และบารมีของพระโพธิสัตว์ ยอดเยี่ยมกว่าเสียงจากพระพรหม (หรือประกาศิตของพรหม)<o:p></o:p>
    ยะมะกะขะ<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<o:p></o:p>
    . ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<o:p></o:p>

    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือสวรรค์ชั้นดุสิต<o:p></o:p>
    ปุ ยะ ปะ กะ<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    ปุริสะทัมมะสาระถิ<o:p></o:p>

    พระพุทธเจ้า พระองค์ผู้เป็นนายสารถีผู้ฝึกบุรุษ<o:p></o:p>
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<o:p></o:p>
    . นิมมานะระตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<o:p></o:p>

    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือสวรรค์ชั้นนิมมานรดี<o:p></o:p>
    เหตุโปวะ<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    สัตถา เทวะมะนุสสานัง<o:p></o:p>

    พระองค์ผู้เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย<o:p></o:p>
    ตะถะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<o:p></o:p>
    . ปะระนิมมิตตะวะสะวัตตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<o:p></o:p>

    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี<o:p></o:p>
    สังขาระขันโธ<o:p></o:p>

    ขันธ์ที่เกิดจากการปรุงแต่ง<o:p></o:p>
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา[6]<o:p></o:p>

    ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา (มิใช่ตัวตนของเราจริง)<o:p></o:p>
    รูปะขันโธ พุทธะปะผะ<o:p></o:p>

    แม้ว่ารูปขันธ์ของพระพุทธเจ้า (ก็ไม่เที่ยงแปรเปลี่ยนไปและเป็นอนัตตา)<o:p></o:p>
    ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอถึงพระพุทธเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตลอดชีวิต<o:p></o:p>
    . พรัหมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา<o:p></o:p>

    ธรรมะฝ่ายกุศล เป็นใหญ่เหนือกว่าพระพรหม<o:p></o:p>
    นัตถิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา<o:p></o:p>

    แม้ธรรมะที่กล่าวถึงความไม่มีเป็นปัจจัย พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสไว้ ไม่มียกเว้น<o:p></o:p>
    ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ<o:p></o:p>

    ข้าพเจ้าขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้า ว่าเป็นที่พึ่งตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน<o:p></o:p>
    นะโม พุทธัสสะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<o:p></o:p>
    นะโม ธัมมัสสะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า<o:p></o:p>
    นะโม สังฆัสสะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า<o:p></o:p>
    พุทธิลา โภกะลา กะระกะนา<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ<o:p></o:p>

    ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด<o:p></o:p>
    หุลู หุลู หุลู สะวาหายะฯ<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    . นะโม พุทธัสสะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<o:p></o:p>
    นะโม ธัมมัสสะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า<o:p></o:p>
    นะโม สังฆัสสะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า<o:p></o:p>
    วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ วัตติ วัตติ<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ<o:p></o:p>
    ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด<o:p></o:p>

    หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    . อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรัหมะสาวัง มะหาพรัหมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสสาวัง มะหาสัปปุริสสาวัง พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิ วิชชาธาระณังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง<o:p></o:p>
    (มนต์คาถาจากพระคาถามหาทิพยมนตร์)<o:p></o:p>

    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุฯ<o:p></o:p>
    ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเถิด<o:p></o:p>

    . สาวัง คุณัง วะชะพะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ทานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ตัปปัง สุขัง สิริรูปัง จาตุวีสะติ เทสะนัง<o:p></o:p>
    (มนต์คาถาจากพระคาถามหาทิพยมนต์)<o:p></o:p>
    เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ<o:p></o:p>
    (มนต์คาถา) ด้วยการกล่าวคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าเดิม<o:p></o:p>

    หุลู หุลู หุลู สะวาหายะฯ <o:p></o:p>
    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>

    . นะโม พุทธัสสะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<o:p></o:p>
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ<o:p></o:p>
    รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง<o:p></o:p>

    นะโม อิติปิ โส ภะคะวา<o:p></o:p>
    ขอนอบน้อมพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    . นะโม ธัมสะ<o:p></o:p>
    ขอนอบน้อมแด่พระธรรมเจ้า<o:p></o:p>
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ<o:p></o:p>
    รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง<o:p></o:p>

    นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม<o:p></o:p>
    ขอนอบน้อมพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว<o:p></o:p>

    . นะโม สังฆัสสะ<o:p></o:p>
    ขอนอบน้อมแด่พระสังฆเจ้า<o:p></o:p>
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ<o:p></o:p>
    รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มิใช่ตัวตนของเราจริง<o:p></o:p>

    นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ<o:p></o:p>
    ขอนอบน้อมพระสงฆ์ สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ปฏิบัติดีแล้ว<o:p></o:p>

    วาหะปะริตตัง<o:p></o:p>
    พระปริตรที่นำสิ่งดีงามมาให้<o:p></o:p>

    . นะโม พุทธายะ<o:p></o:p>
    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<o:p></o:p>
    มะอะอุ<o:p></o:p>

    พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์<o:p></o:p>
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะ ตัสสะ หาโย<o:p></o:p>

    ตราบใดที่ความไม่เที่ยง ความเป็นทุกข์ และความเป็นอนัตตามีอยู่จริงเช่นนี้ ทุกสิ่งก็มีความสิ้นไปและเสื่อมไปเป็นธรรมดาอยู่ตราบนั้น<o:p></o:p>
    โม นะ อุอะมะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์<o:p></o:p>
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา<o:p></o:p>

    ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา<o:p></o:p>
    อุ อะ มะ อะ วันทา<o:p></o:p>

    ขอกราบไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์<o:p></o:p>
    นะโม พุทธายะ<o:p></o:p>

    ขอนอบน้อมแด่พระพุทธเจ้า<o:p></o:p>
    นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ ณะ<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    อา ระ ปะ ขุท ธัง<o:p></o:p>

    (มนต์คาถา)<o:p></o:p>
    มะ อะ อุ<o:p></o:p>

    พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์<o:p></o:p>
    ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ฯ<o:p></o:p>

    ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา<o:p></o:p>
    วิปัสสิต<o:p></o:p>

    (สำเร็จและเห็นแจ้ง)<o:p></o:p>
    สัพพะทุกขา สัพพะภะยา สัพพะโรคา วินัสสันตุ<o:p></o:p>

    (ด้วยอำนาจแห่งยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกที่ข้าพเจ้าได้สวดแล้วนี้)<o:p></o:p>
    ขอทุกข์ภัย อันตราย และโรคทั้งปวง จงพินาศไปสิ้น<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    *******************************************<o:p></o:p>
    อธิบายคำย่อใน<o:p></o:p>
    ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฏก<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    ในยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก มีคำย่อที่ควรทราบ ดังนี้:-<o:p></o:p>
    . อา ปา มะ จุ ปะ เป็นคำย่อพระวินัยปิฎกทั้ง ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์<o:p></o:p>
    อา = อาทิกัมมิกะ (การกระทำที่เป็นต้นบัญญัติ) หมายเอาพระวินัยของพระภิกษุ ตั้งแต่อาบัติปาราชิกลงมาจนถึงสังฆาทิเสส<o:p></o:p>
    ปา = ปาจิตตีย์ เป็นชื่อของอาบัติที่มาในปาฏิโมกข์ (คำว่า
     
  2. sithiphong

    sithiphong เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    45,445
    ค่าพลัง:
    +141,949
    อีกบทนะครับ อิติปิโสรัตนมาลา

    พระอิติปิโสรัตนมาลา<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    นโม ๓ จบ<o:p></o:p>

    (อิ) อิฎโฐ สัพพัญญุตะญาณัง อิจฉันโต อาสะวักขะยัง<o:p></o:p>
    อิฎฐัง ธัมมัง อนุปปัตโต อิทธิมันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ติ) ติณโณ โญ วัฎฎะทุกขัมหา ติณณัง โลกานะมุตตะโม<o:p></o:p>
    ติสโส ภูมี อะติกกันโต ติณณัง โอฆัง นะมามิหัง<o:p></o:p>

    (ปิ) ปิโย เทวะมะนุสสานัง ปิโย พรหมา นะมุตตะโม<o:p></o:p>
    ปิโย นาคะสุปัณณานัง ปิณินทริยัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โส) โสกา วิระตะจิตโต โย โสภะมาโน สะเทวะเก<o:p></o:p>
    โสกัปปัตเต ปะโมเทนโต โสตะวัณณัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ภะ) ภัชชิตา เยนะ สัทธัมมา ภัคคะปาเปนะ ตาทินา<o:p></o:p>
    ภะเย สัตเต ปะหาเสนโต ภะยะสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (คะ) คะมิโต เยนะ สัทธัมโม คะมาปิโต สะเทวะกัง<o:p></o:p>
    คัจฉะมาโน สิวัง รัมมัง คัมยะธัมมัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (วา) วานา นิกขะมิ โย ตัณหา วาจัง ภาสะติ อุตตะมัง<o:p></o:p>
    วานะ นิพพาปะนัตถายะ วายะมันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (อะ) อะนัสสาสะกะสัตตานัง อัสสาสัง เทติ โยชิโน<o:p></o:p>
    อะนันตะคุณะสัมปันโน อันตะคามิง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ระ) ระโต นิพพานะสัมปัตเต ระโต โส สัตตะโมจะเน<o:p></o:p>
    รัมมาเปตีธะ สัตเตโย ระณะจาคัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (หัง) หัญญะเต ปาปะเก ธัมเม หังสาเปติ ปะรัง ชะนัง<o:p></o:p>
    หังสมานัง มาหาวีรัง หันตะปาปัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สัม) สังขะตาสังขะเต ธัมเม สัมมาเทเสสิ ปาณินัง<o:p></o:p>
    สังสารัง สังวิฆาเฏติ สะสัมพุทธัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (มา) มาตะวา ปาลิโต สัตเต มานะถัทเธ ปะมัททิโน<o:p></o:p>
    มานิโต เทวะสังเฆหิ มานะฆาฏัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สัม) สัญจะยัง ปาริมิง สัมมา สัญจิตวา สุขะมัตตะโน<o:p></o:p>
    สังขารานัง ชะยัง กัตวา สันตะคามิง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (พุท) พุชฌิตวา จะตุสัจจานิ พุชฌาเปติ มะหาชะนัง<o:p></o:p>
    พุชฌาเปนตัง สิวัง มัคคัง พุทธะเสฏฐัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โธ) โธติ ราเคจะ โทเสจะ โธติ โมเหจะ ปาณินัง<o:p></o:p>
    โธตาสะวัง มะหาวีรัง โธตะกะเลสัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (วิช) วิวิจเจวะ อะสัทธัมมา วิจิตวา ธัมมะ เทสะนัง<o:p></o:p>
    วิเวเก ฐิตะจิตโต โย วิทิตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ชา) ชาติธัมโม ชะราธัมโม ชาติอันโต ปะกาสิโต<o:p></o:p>
    ชาติเสฏเฐนะ พุทเธนะ ชาติโมกขัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (จะ) จะยะเต ปุญญะสัมภาเร จะเยติ สุขะ สัมปะหัง<o:p></o:p>
    จะชันตัง ปาปะ กัมมานิ จะชาเปนตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ระ) ระมิตัง เยนะ นิพพานัง รักขิตัง โลกะสัมปะทัง<o:p></o:p>
    ระชะ โทสาทิ กะเลเสหิ ระหิตัง ตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ณะ) นามิโตเยวะ พรหเมหิ นระเทเวหิ สัพพะทา<o:p></o:p>
    นะทันโต สีหะนาทัง โย นะทันตัง ตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สัม) สังขาเร ติวิธโลเก สัญชานาติ อะนิจ จะโต<o:p></o:p>
    สัมนิพพานะ สัมปัตโต สัมปัสสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ปัน) ปันนะกะเต โพธิสัมภาเร ปะสัฏโฐ โสสะเทวะเก<o:p></o:p>
    ปัญญายะ อะสะโมโหติ ปะสันนัง ตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โน) โน เทติ นิระยัง คันตุง โน จะปาปัง อะการะยิง<o:p></o:p>
    โน สะโมอัตถิ ปัญญายะ โนนะ ธัมมัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สุ) สุนทะโร วะระรูเปนะ สุสสะโร ธัมมะ ภาเนสะ<o:p></o:p>
    สุทุททะสัง ทิสาเปติ สุคะตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (คะ) คัจฉันโตโลกิยัง ธัมมัง คัจฉันโต อะมะตัง ปะทัง<o:p></o:p>
    คะโต โต สัตตะ โมเจตุง คะตัญ ญาณัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โต) โตเสนโต วะระธัมเมนะ โตสัฎฐาเน สิเว วะเร<o:p></o:p>
    โตสัง อะกาสิ ชันตูนัง โตละจิตตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โล) โลเภ ชะหะติ สัมพุทโธ โลกะเสฏโฐ คุณากะโร<o:p></o:p>
    โลเภ สัตเต ชะหาเปติ โลภะสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (กะ) กันโต โย สัพพะสัตตานัง กัตวา ทุกขังขะยัง ชิโน<o:p></o:p>
    กะเถนโต มะธุรัง ธัมมัง กะถา สัณหัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (วิ) วินะยัง โย ปะกาเสติ วิทธังเสตวา ตะโยภะเว<o:p></o:p>
    วิเส สัญญาณะสัมปัญโน วิปปะสันนัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ทู) ทูเส สัตเต ปะหาเสนโต ทูรัฏฐานัง ปะกาสะติ<o:p></o:p>
    ทูรัง นิพพานะมาคัมมะ ทูสะหานัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (อะ) อันตัง ชาติชะราทีนัง อะกาสิ ทีปะ ทุตตะโม<o:p></o:p>
    อะเน กุสสาหะจิตเตนะ อัสสาเสนตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (นุต) นุเทติ ราคะจิตตานิ นุหาเปติ ปะรัง ชะนัง<o:p></o:p>
    นุนะอัตถัง มะนุสสานัง นุสาสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ตะ) ตะโนติ กุสะลัง ธัมมัง ตะโนติ ธัมมะเทสะนัง<o:p></o:p>
    ตัณหายะ วิจะรันตานัง ตัณหาฆาตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โร) โรเสนเต เนวะโกเปติ โรเสเหวะ นะกุชฌะติ<o:p></o:p>
    โรคานัง ราคะอาทีนัง โรคะสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ปุ) ปุณันตัง อัตตะโน ปาปัง ปูเรนตัง ทะสะ ปาระมิง<o:p></o:p>
    ปุญญะวันตัสสะ ราชัสสะ ปุตตะภูตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ริ) ริปุราคาทิภูตังวะ ริทธิยา ปะฏิหัญญะติ<o:p></o:p>
    ริตตัง กัมมังนะ กาเรตา ริยะวังสัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สะ) สัมปันโน วะระสีเลนะ สะมาธิปะ วะโรชิโน<o:p></o:p>
    สะยัมภูญญาณะสัมปันโน สัณหะวาจัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ทัม) ทันโต โย สะกะจิตตานิ ทะมิตวาปิ สะเทวะกัง<o:p></o:p>
    ทะทันโต อะมะตัง เขมัง ทันตินทริยัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (มะ) มะหุสสาเหนะ สัมพุทโธ มะหันตัง ญาณะมาคะมิ<o:p></o:p>
    มหิตัง นะระเทเวหิ มะโนสุทธัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สา) สารัง เทตีธะ สัตตานัง สาเรติ อะมะตังปะทัง<o:p></o:p>
    สาระถิวิยะ สาเรติ สาระธัมมัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ระ) รัมมะตาริยะ สัทธัมเม รัมมาเปติ สะสา วะกัง<o:p></o:p>
    รัมเมฐาเน วะสาเปนตัง ระณะหันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ถิ) ถิโต โย วะระนิพพาเน ถิเร ฐาเน สะสาวะโก<o:p></o:p>
    ถิรัง ฐานัง ปะกาเสติ ถิตะธัมมัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สัต) สัทธัมมัง เทสะยิตวานะ สันตัง นิพพานะ ปาปะกัง<o:p></o:p>
    สะมาหิตัง สะสาวะกัง สันตะจิตตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ถา) ถามัง นิพพานะ สังขาตัง ถาเมนาธิ คะโตมุนิ<o:p></o:p>
    ถาเนสัคคะสิวะ รัมเม ถาเปนตัง ตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (เท) เทนโต โย สัคคะนิพพานัง เทวะ มะนุสสะ ปาณินัง<o:p></o:p>
    เทนตัง ธัมมะวะรัง ทานัง เทวะ เสฏฐัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (วะ) วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง อะนาสะวัง<o:p></o:p>
    วันทิตัง เทวะพรหเมหิ วะรัง พุทธัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (มะ) มะนะตา วิริเยนาปิ มะหันตัง ปาระมิงอะกา<o:p></o:p>
    มะนุสสะเทวะพรหเมหิ มหิตัง ตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (นุส) นุนะธัมมัง ปะกาเสนโต นุทะนัตถายะ ปาปะกัง<o:p></o:p>
    นุนะทุกขาธิปันนานัง นุทาปิตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สา) สาวะกานัง นุสาเสติ สาระธัมเมจะปาณินัง<o:p></o:p>
    สาระธัมมัง มะนุสสานัง สาลิตัง ตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (นัง) นันทันโต วะระสัทธัมเม นันทาเปติ มะหามุนิ<o:p></o:p>
    นันทะภูเตหิ เทเวหิ นันทะนียัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (พุท) พุชฌิตาริยะสัจจานิ พุชฌาเปติ สะเทวะกัง<o:p></o:p>
    พุทธะญาเณหิ สัมปันนัง พุทธัง สัมมา นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โธ) โธวิตัพพัง มะหาวีโร โธวันโต มะละมัตตะโน<o:p></o:p>
    โธวิตตา ปาณินัง ปาปัง โธตะกเลสัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ภะ) ภะยะมาปันนะสัตตานัง ภะยัง หาเปตินายะโต<o:p></o:p>
    ภะเว สัพเพ อะติกกันโต ภะยะสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (คะ) คะธิโต เยนะ สัทธัมโม คะตัญญา เณนะปาณินัง<o:p></o:p>
    คัณหะนียัง วะระธัมมัง คัณหาเปนตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (วา) วาปิตัง ปะวะรัง ธัมมัง วานะโมกขายะ ภิกขูนัง<o:p></o:p>
    วาสิตัง ปะวะเร ธัมเม วานะมานัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ติ) ติณโณ โส สัพพะปาเปหิ ติณโณ สัคคา ปะติฏฐิโต<o:p></o:p>
    ติเร นิพพานะ สังขาเต ติกขะญาณัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    จบห้อง พระพุทธคุณ ๕๖ คาถา<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    (สวาก)สวากตันตัง สิวัง รัมมัง สวากหะเนยยัง ธัมมะ เทสันตัง<o:p></o:p>
    สวากหะเนยยัง ปุญญักเขตตัง สวากสะภัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ขา) ขาเทนโต โส สัพพะปัชชัง ขายิตัง มะธุรัง ธัมมัง<o:p></o:p>
    ขายันตัง ติวิธัง โลกัง ขายิตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โต) โตเสนโต สัพพะสัตตานัง โตเสหิ ธัมมะเทสะนัง<o:p></o:p>
    โตมะหิ จิตตัง สะมิชณันตัง โตเสนตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ภะ) ภัคคะราโค ภัคคะโทโส ภัคคะโมโห อนุตตะโร<o:p></o:p>
    ภัคคะกิเลเส สัตตานัง ภะคะวันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (คะ) คัจฉันโต รัมมะเกสิเว คะหะะจิตโต สะเทวะเก<o:p></o:p>
    คัจฉันเต พรหมะ จะติเย คัจฉันตัง ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (วะ) วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง ปุญญะ ปาปัง อนุตตะรัง<o:p></o:p>
    วันตะพาละมิจฉาทีนัง วันตันตัง ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ตา) ตาเรสิ สัพพะสัตตา ตาเรติ โอระมีติรัง<o:p></o:p>
    ตาเรนตัง โมกขะ สังสารัง ตาเรนตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ธัม) ธะระมาเนปิ สัมพุทเธ ธัมเมเทสัง นิรันตะรัง<o:p></o:p>
    ธะเรยยะ อะมะตะถานัง ธะเรนตันตัง ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โม) โมหัญเญ ทะมันโต สัตเต โมหะตีเต อะการะยิ<o:p></o:p>
    โมหะชาเต ธัมมะจาริ โมหะตีตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สัน) สัพพะสัตตะตะโมนุโท สัพพโสกาวินาสะโก<o:p></o:p>
    สัพพะสัตตะจิตตะกะโก สัพพะสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ทิฏ) ทิฏเฐ ธัมเม อะนุปปัตเต ทิฏฐิกังขา ราคะลุตเต<o:p></o:p>
    ทิฏฐิทะวาสัฏฐี ฉันทันเต ทิฏฐิธัมเม ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ฐิ) ฐิตีสีละสะมาจาเร ฐิติ เตระสะธุตังเค<o:p></o:p>
    ฐิติธัมเม ปะฏิปัตติ ฐิตังปะทัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โก) โกกานัง ราคะปิฬิโต โกธัมโม ปาฏิหัญญะติ<o:p></o:p>
    โกกานัง ปูชิโต โลเก โกกานะ ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (อะ) อัคโคเสฏโฐ วะโรธัมโม อัคคะปัญโญปิ พุชฌะติ<o:p></o:p>
    อัคคะธัมมัง สุนิปุณัง อัคคันตัง ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (กา) กาเรนโต โส สิเวรัชเช กาเรยยะ ธัมมะจาริเย<o:p></o:p>
    กาตัพเพ สุลิกขากาเม กาเรนตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ลิ) ลิโต โย สัพพะทุกเขสุ ลิกขิโตปิฏะ กัตตะเย<o:p></o:p>
    ลิมปิเตปิ สุวัณเณจะ ลิขันเต ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    <o:p> </o:p>
    (โก) โก ปุคคะโล สะทิโสมัง โก ธัมมัง อะภิปูชะยิ<o:p></o:p>
    โกวิทู ธัมมะสาระทัง โกสาลาตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (เอ) เอสะติ พุทธธะวะจะนัง เอสะติ ธัมมะมุตตะมัง<o:p></o:p>
    เอสะติ สัตตะโมกขัญจะ เอสาสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (หิ) หิเน ถาเน นัชฌายันเต หิเน เปติ สุคะติง<o:p></o:p>
    หิเน โมหะสะเม ชาเล หิตันตัง ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ปัส) ปักกะโต โพธิสัมภาเร ปะเสฏโฐ โสสะเทวะเส<o:p></o:p>
    ปัญญายะ อะสะโม โหติ ปะสันตานัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สิ) สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา<o:p></o:p>
    สีเลนะ นิพพุติงยันติ สีละธะนัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โก) โก โย อัคคะสุปุญโญ ปุพเพ โกฑะชะเห อะธิ คัจฉิ<o:p></o:p>
    โกธัมมัญจะ วิชานาติ โกวันตัง ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โอ) โอนะโต สัพพะกิเลสัง โอนะโต สัพพะ มะมะลัง<o:p></o:p>
    โอนะโต ทิฏฐิชาลัญจะ โอนะโตตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ปะ) ปัญญา ปาเสฏโฐ โลกัสมิง ปัญญาอัปปะฏิ ปุคคะโล<o:p></o:p>
    ปัญญายะ อะสะโม โหติ ปะสันโนตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (นะ) นะรานะระ หิตังเทวัง นะระเทเวหิ ปูชิตัง<o:p></o:p>
    นะรานัง กัมมะปักเขหิ นะมิตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ยิ) ยิชชะโต สัพพะสัตตานัง ยิชชะตัง เทวะ พรหเมหิ<o:p></o:p>
    ยิชชะสะติ จะ ปาณินัง ยิชชะตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โก) โกธัง ชะหะติ ปาปะกัง โกธัง โกธะนัง นาสสะติ<o:p></o:p>
    โกธัง ชะเหวิ ปัชชะติ โกธะ นุทธัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ปัจ) ปัจจาภิระตา ปะชา ปัชชะหิตา ปาปะกาโย<o:p></o:p>
    ปัปโปติ โชติวิปุโล ปะโชตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (จัต) จะริตวา พรหมะจะริยัง จัชชันตัง สุวิหัญญะติ<o:p></o:p>
    จัชชันตัง สัพพะทาเนนะ จัชชะตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ตัง) ตังโนติ กุสะลังธัมมัง ตังโนติ สัพพะวิริยัง<o:p></o:p>
    ตังโนติ สีละสะมาธิง ตังตะวายัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (เว) เวรานิปิ นะ พันธันติ เวรัง เตสูปะสัมมะติ<o:p></o:p>
    เวรัง เวเรนะ เวรานิ เวระสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ทิ) ทีฆายุโก พะหูปุญโญ ทีฆาระโต มะหาสาโล<o:p></o:p>
    ทีฆังเตเชนะ ปุญเญนะ ทีฆะรัตตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ตัพ) ตะโต ทุกขา ปะมุญจะโส ตะโตโมเจติ ปาณิโน<o:p></o:p>
    ตะโน ราคาทิ กิเลเส ตะโตโมกขัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โพ) โพนโต เทวะสังฆาโย โก โพธิเสฏ เฐจะ ปะกะโต<o:p></o:p>
    โพธินา ปะริปุณโณโส โพธิสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (วิญ) วิระติ สัพพะทุกขัสมา วิริยะนาปี ทุลละภา<o:p></o:p>
    วิริยะ ทุกขสัมปันนา วิริยันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ญู) ญูตัญญาเญหิ สัมปันนัง ญูตะโยคะสะมัปปิตัง<o:p></o:p>
    ญูตัญญาณะทัสสะนัญจะ ญูตะโยคัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (หิ) หิสันตัง สัพพะโทสานิ หิสันตา สัพพะภยาติ<o:p></o:p>
    หิสะโมหา สัตตาคะตา หิสะสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ติ) ติณโณ โย วัฏฏะทุกธัมมะหา ติณนะโลกานะ มุตตะโม<o:p></o:p>
    ติสโสภูมิ อะติกกันโต ติณนะโอฆัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    จบห้องพระธรรมคุณ ๓๘ คาถา<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    <o:p> </o:p>
    (สุ) สุทธิสีเลหิ สัมปันโน สุฏฐะปัตโตจะโย สังโฆ<o:p></o:p>
    สุนทะโร สาสะนะธะโร สุนทะรัง ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ปะ) ปฎิสัมภิทา จะตัสโส ปะเสฏโฐ โสอนุตตะโร<o:p></o:p>
    ปัญญา อนุตตะโร โลเก ปะสัฏฐัง ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ฏิ) ฏิตถิปะราชิโต สัตถา ฏิตถาฏิยา ทัสสะนะเม<o:p></o:p>
    ฏิตถิ พุทธะวิเสนะ ฏิตถันตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ปัน) ปะเสฏโฐ ธัมมะคัมภิโร ปัญญะวันโต อะลังกะโต<o:p></o:p>
    ปะเสนโต อัตถะธัมมัญจะ ปะสัฏฐัง ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โน) โนเจติ กุสะลัง กัมมัง โนจะปาปัง อาการะยิ<o:p></o:p>
    โนนะตัง พุชฌะ ธัมมัญจะ โนทิสันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (ภะ) ภัคคะราโค ภัคคะโทโส ภัคคะโมโหจะ ปาณินัง<o:p></o:p>
    ภัคคะกิเสสะสัตตานัง ภัคคะตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (คะ) คัจฉันโต โลกิยัง ธัมมัง คัจฉันโต โลกุตตะ รัมปี<o:p></o:p>
    คัจฉะเทวะ กิเลเสหิ คะมิตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (วะ) วัณเณติ กุสะลัง ธัมมัง วัณเณติสีละสัมปันนัง<o:p></o:p>
    วัณเณติกขะติ รักขิตัง วัณเณนะตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โต) โตเสนโต เทวะมะนุสโส ธัมมะยะลิ โตเสติ<o:p></o:p>
    ทุฏฐะ จิตตานิ โตเสนตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สา) สาสะนัง สุปะฏิจฉันนัง สาสะยันตังลิวัง รัมมัง<o:p></o:p>
    สาสะนัง อะนุสาเสนยัง สาสะยันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (วะ) วันตะราคัง วันตะโทสัง วันตะโมหัง ทิฏฐิ ฉันทัง<o:p></o:p>
    วันตานัง สัพพะปาณินัง วันตะกิเลสัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (กะ) กะโรนโต สีละสะมาธิง กะโรนโต สาระมัตตะโน<o:p></o:p>
    กะโรนโต กัมมัฏฐานานิ กะโรนโต ตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (สัง) สังสาเร สังสะรันโต โส สังสาระโต วิมุญจิโส<o:p></o:p>
    สังสาระ ทุกขโมเจสิ สังเสฏฐัง ปะ นะมามิหัง<o:p></o:p>
    (โฆ) โฆรัง ทุกขะยัง กัตวา โฆสาเปติ สุรังนะรัง<o:p></o:p>
    โฆสะยิตวา ติปิฏะกัง โฆระตันตัง นะมามิหัง<o:p></o:p>
    จบห้องพระสังฆคุณ ๑๔ คาถา<o:p></o:p>

    <o:p></o:p>
    สะตะอัฏฐะธัมมะคาถา รัตตะนัตตะยะคุณาสะมัตตา เอเตนะ ชะยะเตเชนะ โสตถิเม ชะยะมังคะลัง ฯ<o:p></o:p>
    ปุตโต ตะยาหัง มะหาราชัง ตะวัง มังโปสะชานาที อัญโญ กิญจิ เทโว โทเสติ สะมัง ปัชชะ ฯ<o:p></o:p>
    อิติปาระมิตา ติงสา อิติ สัพพัญญุมาคะตา อิติ โพธิมะ นุปปัตโต อิติ ปิโสจะเต นะโม ฯ<o:p></o:p>
    ภะคะวา ภะคะวา นามะ ภะโค กิเลสะ พาหะโน ภะโคสังสาระจักกานัง ภะคะวา นามะ เตนะโม ฯ<o:p></o:p>
    รวม ๓ ห้อง ๑๐๘ คาถา อิติปิโสระตะนะมาลา นิฏฐิตัง<o:p></o:p>

    <o:p> </o:p>
    ***พระพุทธภาษิตธะชัคคะสูตรแสดงไว้ดังนี้ ภิกษุทั้งหลาย ถ้าว่าความกลัวหรือความหวาดเสียว หรือขนพองสยองเกล้า เกิดขึ้นแก่ท่านทั้งหลาย ผู้ไปสู่ที่ว่างเปล่า อันเป็นที่เงียบสงัดอันจะพึงกลัว เป็นตันว่า ไปสู่ป่าก็ดี สู่โคนต้นไม้ก็ดี สู่เรือนเปลี่ยวก็ดี สมัยนั้นท่านทั้งหลายพึงระลึกถึงเราผู้ตถาคตอย่างนี้ว่า <o:p></o:p>
    ***
     
  3. vacharaphol

    vacharaphol เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    8,849
    ค่าพลัง:
    +27,175
    ยันทุนนิมัตตัง อวมังคลัญจะ <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>
    โยจามะนาโป สกุณัสสะสัทโธ <o:p></o:p>
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง <o:p></o:p>
    พุทธานุภาเวนะ วินาสเมนตุ <o:p></o:p>
    ยันทุนนิมัตตัง อวมังคลัญจะ <o:p></o:p>
    โยจามะนาโป สกุณัสสะสัทโธ <o:p></o:p>
    ปาปัคคะโท ทุสสุปินัง อะกันตัง <o:p></o:p>
    ธรรมานุภาเวนะ วินาสเมนตุ <o:p></o:p>
    ยันทุนนิมัตตัง อวมังคลัญจะ <o:p></o:p>
    โยจามะนาโป สกุณัสสะสัทโธ <o:p></o:p>
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง <o:p></o:p>
    สังฆานุภาเวนะ วินาสเมนตุ <o:p></o:p>
    (ใช้ภาวนาเพื่อแก้ฝ้นร้าย) <o:p></o:p>
     
  4. vacharaphol

    vacharaphol เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2005
    โพสต์:
    8,849
    ค่าพลัง:
    +27,175
    คาถายันต์เกราะเพชร<?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:eek:ffice:eek:ffice" /><o:p></o:p>

    อิระชาคะตะระสา <o:p></o:p>
    ติหังจะโตโรถินัง <o:p></o:p>
    ปิสัมระโลปุสัตพุท <o:p></o:p>
    โสมาณะกะริถาโธ <o:p></o:p>
    ภะสัมสัมวิสาเทภะ <o:p></o:p>
    คะพุทปันทูทัมวะคะ <o:p></o:p>
    วาโธโนอะมะมะวา <o:p></o:p>
    อะวิชสุนุตสานุติ
     
  5. chanin

    chanin เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 เมษายน 2005
    โพสต์:
    675
    ค่าพลัง:
    +1,332
    บทสวด อะภะยปะริตร สำหรับสวดก่อนนอน พร้อมคำแปล
    ฟังเสียงสวดได้ที่ http://www.geocities.com/chruawan/page18.htm

    ***********************************************************************
    ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ
    โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
    พุทธานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ
    ลางชั่วร้ายอันใด และอวมงคลอันใด เสียงนก เป็นที่ไม่ชอบใจอันใด
    และบาปเคราะห์อันใด สุบิน (ความฝัน) ชั่ว อันไม่พอใจอันใดมีอยู่

    ขอสิ่งเหล่านั้น จงถึงความพินาศไป ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า
    ยันทุนนิมิตตัง อะวะมัง คะลัญจะ
    โย จามะนาโป สะกุณัสสะ สัทโท
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
    ธัมมานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ
    ลางชั่วร้ายอันใด และอวมงคลอันใด เสียงนก เป็นที่ไม่ชอบใจอันใด
    และบาปเคราะห์อันใด สุบิน (ความฝัน) ชั่ว อันไม่พอใจอันใดมีอยู่

    ขอสิ่งเหล่านั้น จงถึงความพินาศไป ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมเจ้า
    ยันทุนนิมิตตัง อะวะมังคะลัญจะ
    โย จามะนาโป สะกุณัสสะสัทโท
    ปาปัคคะโห ทุสสุปินัง อะกันตัง
    สังฆานุภาเวนะ วินาสะเมนตุ ฯ
    ลางชั่วร้ายอันใด และอวมงคลอันใด เสียงนก เป็นที่ไม่ชอบใจอันใด
    และบาปเคราะห์อันใด สุบิน (ความฝัน) ชั่ว อันไม่พอใจอันใดมีอยู่

    ขอสิ่งเหล่านั้น จงถึงความพินาศไป ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์เจ้า
     

แชร์หน้านี้

Loading...